แผนแม่บท

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ฯ
(ฉบับปรับปรุง) มหาวิทยาลัยพายัพ
ระยะ ๕ ปีที่ห้า (ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๙)

1.กิจกรรมสำรวจเก็บรวบรวมพันธุกรรมพืช (กิจกรรมที่ 2)


เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการสำรวจ เก็บรวบรวมพันธุกรรมพืชที่กำลังจะเปลี่ยนแปลง หรือสูญหายไป นอกจากนี้ยังเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับพันธุ์ไม้ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากพันธุกรรมพืชต่อไป

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ

หมายเหตุ*งบสำนักวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 การเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ - -
2556 การเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ - -
2557 การเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ - -
2558 การเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ 5,000 ได้พันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา
2559 การเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ 5,000 ได้พันธุ์พืชไม้หอมในวรรณคดีล้านนา

2. กิจกรรมอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พันธุกรรมพืช (กิจกรรมที่ 4)


เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการศึกษาประเมินพันธุกรรมพืชที่สำรวจเก็บรวบรวมและปลูกรักษาไว้โดยมีการศึกษาประเมินในสภาพธรรมชาติ ในด้านสัณฐานวิทยา ชีววิทยา สรีรวิทยา การเขตกรรม นอกจากนี้ยังเก็บข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับพันธุ์ไม้ที่ให้สีในการย้อม เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในถ่ายทอดองค์ความรู้ต่อไป

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ

หมายเหตุ*งบประมาณจากมหาวิทยาลัยพายัพ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 เก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2556 เก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2557 เก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2558 เก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ 100,000 ได้พันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม
2559 เก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ 100,000 ได้พันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม

3. กิจกรรมศูนย์ข้อมูลพันธุกรรมพืช (กิจกรรมที่ 5)


เป็นกิจกรรมที่ดำเนินการศึกษาบันทึกข้อมูลของการสำรวจ เก็บรวบรวม การศึกษาประเมิน การอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ รวมทั้งจัดทำฐานข้อมูล การจัดการฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น จากการทำงานในกิจกรรม ๒ และ ๔ โดยการทำการบันทึกลงในระบบฐานข้อมูล เพื่อเป็นฐานข้อมูลพันธุกรรมพืชของประเทศ และให้มีระบบฐานข้อมูลที่สามารถสื่อกันได้ทั่วประเทศ

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ โครงการที่ 1

หมายเหตุ*งบสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2556 จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2557 จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -
2558 จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ 300,000 ได้ข้อมูลส่วนต้น ของพืชที่ให้สี
2559 จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อเก็บและรวบรวมพันธุ์พืชที่ให้สีในการย้อม จังหวัดเชียงใหม่ - -

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ โครงการที่ 2

หมายเหตุ*งบประมาณจากมูลนิธิโครงการหลวง
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง ชนเผ่าพื้นที่สูง ๑๐ ชนเผ่า ในพื้นที่โครงการหลวง - -
2556 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง ชนเผ่าพื้นที่สูง ๑๐ ชนเผ่า ในพื้นที่โครงการหลวง - -
2557 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง ชนเผ่าพื้นที่สูง ๑๐ ชนเผ่า ในพื้นที่โครงการหลวง 1,500,000 ได้ข้อมูลผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง
2558 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง ชนเผ่าพื้นที่สูง ๑๐ ชนเผ่า ในพื้นที่โครงการหลวง 1,500,000 ไได้ข้อมูลผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง
2559 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง ชนเผ่าพื้นที่สูง ๑๐ ชนเผ่า ในพื้นที่โครงการหลวง 1,500,000 ได้ข้อมูลผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง

4.กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช (กิจกรรมที่ 8)


เเป็นกิจกรรมที่ดำเนินการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการนำพันธุ์ไม้ที่ให้สีในการย้อม มาทอเป็นผ้าที่มีความหลากหลายของชนเผ่าและกลุ่มอาเซียน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในถ่ายทอดองค์ความรู้และสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรและภูมิปัญญาด้านการทอผ้าต่อไป รวมทั้งการนำพืชมาสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับชุมชน

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ โครงการที่ 1

หมายเหตุ*งบสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 จัดประชุมผ้าอาเซียน The 5th ASEAN Traditional Textiles Symposium - - -
2556 จัดประชุมผ้าอาเซียน The 5th ASEAN Traditional Textiles Symposium - - -
2557 จัดประชุมผ้าอาเซียน The 5th ASEAN Traditional Textiles Symposium - - -
2558 จัดประชุมผ้าอาเซียน The 5th ASEAN Traditional Textiles Symposium - 12,000,000 10 ประเทศ 200 คน
2559 จัดประชุมผ้าอาเซียน The 5th ASEAN Traditional Textiles Symposium - - -

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ โครงการที่ 2

หมายเหตุ*งบประมาณจากมหาวิทยาลัยพายัพ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 ร่วมจัดนิทรรศการทรัพยากรไทย : นำสิ่งที่ดีงามสู่ตาโลก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี - -
2556 รวบรวมลายผ้าทอและลายปักของชนเผ่าในพื้นที่สูง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี 120,000 ผู้เข้าร่วมชมบูธ ๒๐๐ คน
2557 ร่วมจัดนิทรรศการทรัพยากรไทย : นำสิ่งที่ดีงามสู่ตาโลก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี - -
2558 ร่วมจัดนิทรรศการทรัพยากรไทย : นำสิ่งที่ดีงามสู่ตาโลก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี - -
2559 ร่วมจัดนิทรรศการทรัพยากรไทย : นำสิ่งที่ดีงามสู่ตาโลก การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เขื่อนศรีนครินทร์ อ.ศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี - -

แนวทางการดำเนินกิจกรรมและงบประมาณ โครงการที่ 3

หมายเหตุ*งบสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ปี โครงการงานวิจัย/กิจกรรม พื้นที่เป้าหมาย งบประมาณ เป้าหมาย
2555 การศึกษาโภชนาการของรำข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าวในเชิงพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่ - -
2556 การศึกษาโภชนาการของรำข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าวในเชิงพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่ - -
2557 การศึกษาโภชนาการของรำข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าวในเชิงพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่ - -
2558 การศึกษาโภชนาการของรำข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าวในเชิงพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่ 300,000 การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าว
2559 การศึกษาโภชนาการของรำข้าว การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าวในเชิงพาณิชย์ จังหวัดเชียงใหม่ 300,000 การสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์จากรำข้าว

อช สำนักวิจัย